ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ (swoc) อาคาร 99 ปี […]
opabo
30 ก.ย. 2024
นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน พร้อมคณะ ลงพื้นที่ติดตามปัญหาภัยแล้ง และติดตามความก้าวหน้าโครงการพัฒนาแหล่งน้ำในจังหวัดเพชรบุรี พร้อมพบปะเกษตรกรในพื้นที่เพื่อรับฟังปัญหาและมอบแนวทางแก้ไข
opabo
13 พ.ค. 2024
กรมส่งเสริมการเกษตร สั่งการระดับพื้นที่ติดตามสถานการณ์แล้งอย่างต่อเนื่อง
opabo
16 เม.ย. 2024
นายกรัฐมนตรี เศรษฐา ทวีสิน ลุยอีสาน 2 จว. ร้อยเอ็ดและกาฬสินธุ์ แก้แล้ง-ท่วม ติดตามการบริหารจัดการน้ำในลำน้ำชีตอนกลาง
opabo
3 มี.ค. 2024
นายกฯ ลง กาฬสินธุ์ ติดตามแก้ปัญหาน้ำท่วม-แล้ง ลั่นต้องไม่ให้ปชช.เดือดร้อน บอกดีใจที่ได้กลับมาอีกครั้ง พร้อมดูแลให้ดีที่สุด
opabo
2 มี.ค. 2024
สำนักงานสถิติแห่งชาติอินโดนีเซีย เผยว่าอินโดนีเซียอาจเผชิญกับการขาดแคลนข้าวในช่วงสิ้นปี 2023 ซึ่งคาดว่าจะย่ำแย่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศ เนื่องจากภัยแล้งวงกว้างที่เกิดจากปรากฏการณ์เอลนีโญ
nantnaphat
18 ต.ค. 2023
รมว.ธรรมนัส เปิดสถานีสูบน้ำคลองหนัง เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรและสามารถช่วยบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่อำเภอสทิงพระ อีกทั้งยังลดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย และพื้นที่การเกษตรได้เป็นอย่างมาก
opabo
15 ต.ค. 2023
ส.ป.ก.ขานรับนโยบายดับแล้งของรัฐบาลเร่งเครื่องขุดบ่อน้ำบาดาลโซลาร์เซลล์ ในเขตพื้นที่ ส.ป.ก.รับมือปัญหาเอลนีโญ ชี้เป้าดำเนินการทั่วประเทศ 50-100 แห่งต่อปี เกษตรกรได้รับประโยชน์ไม่น้อยกว่า 1,000 ครัวเรือนต่อปี
opabo
20 ก.ย. 2023
กรมส่งเสริมการเกษตร แนะเกษตรกรเร่งวางแผนรับมือฝนทิ้งช่วงจากเอลนีโญ เตือนอาจส่งผลแล้งยาวนานถึงต้นปีหน้าแนะ วางแผนกักเก็บสำรองน้ำไว้ใช้ในเวลาที่ฝนทิ้งช่วง
opabo
14 มิ.ย. 2023
ฝนที่ตกน้อยในพื้นที่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ส่งผลให้ชาวสวนทุเรียนในอำเภอปราณบุรี ได้รับผลกระทบจากปัญหาการขาดแคลนน้ำ… เขื่อนปราณบุรี จึงส่งรถบรรทุกน้ำไปช่วยเหลือชาวสวนทุเรียน ป้องผลผลิตทุเรียนให้รอดจากภัยแล้ง
opabo
4 มิ.ย. 2023
กรมชลฯเร่งเก็บกักน้ำ รับมือ”เอลนีโญ”หลังกรมอุตุนิยมวิทยา คาดการณ์ว่า สถานการณ์เอลนีโญ จะส่งผลให้มีปริมาณฝนตกน้อยกว่าปกติ
opabo
21 เม.ย. 2023
ปีนี้คาดการณ์ว่าจะเกิดภัยแล้งรุนแรง การมีเศษวัสดุคลุมโคนช่วยเก็บรักษาความชื้นในดินไว้ได้นานขึ้นและเศษวัสดุนี้จะย่อยสลายกลายเป็นอินทรีย์วัตถุเป็นประโยชน์ต่อพืชส่งเสริมให้พืชมีการแตกรากหาอาหารบริเวณผิวหน้าดินต่อไป.. แต่ถ้าไปคราดโคนเป็นประจำจะทำให้ระบบรากพืชที่อยู่บริเวณผิวหน้าดินเสียหาย ระบบนิเวศน์ที่ซับซ้อนใต้โคนต้นเสียสมดุล ส่งผลให้ต้นไม้ผลอ่อนแอ ไม่สมบูรณ์
opabo
23 พ.ย. 2022