น้ำเหนือเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ชลประทานปรับเพิ่มการระบายท้ายเขื่อนเจ้าพระยา 31 ส.ค. 202231 ส.ค. 2022 กรมชลประทาน ปรับเพิ่มการระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยา หลังน้ำเหนือยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากฝนที่ตกชุกสะสมต่อเนื่องในพื้นที่ตอนบนของภาค พร้อมเร่งระบายน้ำออกสู่ทะเลอ่าวไทยให้เร็วที่สุด ย้ำบริหารจัดการน้ำให้สอดคล้องกับสถานการณ์ฝนที่ตกลงมา บรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชน ตามนโยบายของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ nantnaphat31 ส.ค. 2022
กรมชลฯปรับการระบายน้ำเขื่อนป่าสักและเขื่อนเจ้าพระยาให้สอดคล้องรองรับน้ำเหนือเพิ่มขึ้น 30 ส.ค. 202230 ส.ค. 2022 ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ลดลงต่อเนื่อง จึงปรับลดการระบายน้ำให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำ และปรับเพิ่มการระบายน้ำท้ายเขื่อนเจ้าพระยา เร่งระบายน้ำออกสู่ทะเลอ่าวไทย รองรับปริมาณน้ำเหนือที่จะไหลหลากลงมาอีก หลังมีฝนตกชุกในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ส่งผลให้ระดับน้ำในแม่น้ำสายหลักเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง nantnaphat30 ส.ค. 2022
ท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเริ่มทรงตัวหลังระบาย 1,500 ลบ.ม./วินาที ติดต่อกันเป็นวันที่ 3 25 ส.ค. 202225 ส.ค. 2022 สถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัจจุบัน(25 สิงหาคม 2565)เวลา 12.00 น. ที่สถานีวัดน้ำ C.2 อ.เมืองจ.นครสวรรค์ มีน้ำไหลผ่าน 1,582 ลบ.ม./วินาที (เมื่อวาน 1,562 ลบ.ม./วินาที) ระดับน้ำต่ำกว่าตลิ่งประมาณ 4.31 เมตร nantnaphat25 ส.ค. 2022
กรมชลฯ ปรับเพิ่มการระบายน้ำเขื่อนป่าสักฯเตรียมรับน้ำจากเพชรบูรณ์ 24 ส.ค. 202224 ส.ค. 2022 อิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย เมื่อวันที่ 15-21 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ทำให้เกิดฝนตกหนักในพื้นที่ต้นน้ำแม่น้ำป่าสักในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ระดับน้ำในแม่น้ำป่าสักเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับมีปริมาณน้ำจากลำน้ำสาขาคลองสะดวงใหญ่ไหลลงมาสมทบ ส่งผลให้ระดับน้ำที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ เพิ่มสูงขึ้น ก่อนที่ปริมาณน้ำดังกล่าวจะไหลลงสู่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ตามลำดับ nantnaphat24 ส.ค. 2022
กรมชลประทานปรับการระบายท้ายเขื่อนเจ้าพระยาสอดคล้องกับสถานการณ์น้ำ 24 ส.ค. 202224 ส.ค. 2022 กรมชลประทาน ปรับการระบายน้ำผ่านท้ายเขื่อนเจ้าพระยา รองรับน้ำเหนือไหลหลากที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น พร้อมทั้งเฝ้าระวังน้ำทะเลหนุนสูง nantnaphat24 ส.ค. 2022
กรมชลประทานระดมสรรพกำลังเร่งระบายน้ำช่วยเหลือภาคอีสาน 23 ส.ค. 202223 ส.ค. 2022 กรมชลประทาน เดินหน้าช่วยเหลือพื้นที่ภาคอีสาน หลังมีฝนตกหนักหลายพื้นที่ ระดมติดตั้งเครื่องจักรเครื่องมือ เพื่อเร่งระบายน้ำ พร้อมเฝ้าระวังตลอด 24 ชั่วโมง จนกว่าสถานการณ์จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติตามนโยบายของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ nantnaphat23 ส.ค. 2022
ชลประทานติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำ 100 เครื่องในแม่น้ำมูล รับมือน้ำหลากเมืองอุบลฯ 22 ส.ค. 202222 ส.ค. 2022 กรมชลประทาน ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำ 100 เครื่องเสร็จเรียบร้อยแล้ว ในแม่น้ำมูล จ.อุบลราชธานี เร่งระบายน้ำลงสู่แม่น้ำโขง เตรียมรับน้ำเหนือเมืองอุบลฯ nantnaphat22 ส.ค. 2022
ชลประทานเดินหน้าสูบน้ำท่วมขังนาข้าวทุ่งโพธิ์พระยา เร่งระบายน้ำแม่น้ำท่าจีนออกสู่ทะเลให้เร็วที่สุด 15 ส.ค. 2022 กรมชลประทาน เร่งระบายน้ำแม่น้ำท่าจีนลงสู่ทะเลให้เร็วที่สุด เตรียมรับน้ำเหนือ พร้อมเร่งสูบน้ำที่ท่วมขังนาข้าวในพื้นที่ทุ่งโพธิ์พระยา จ.สุพรรณบุรี ให้เกษตรกรเก็บเกี่ยวข้าวได้ภายในกลางเดือนกันยายนนี้ nantnaphat15 ส.ค. 2022
กรมชลประทานเตือนปรับเพิ่มการระบายน้ำเขื่อนเจ้าพระยา 12 ส.ค. 202212 ส.ค. 2022 กรมชลประทาน ปรับเพิ่มการระบายน้ำผ่านท้ายเขื่อนเจ้าพระยา อัตราอยู่ระหว่าง 1,100 – 1,400 ลบ.ม./วินาที ให้สอดคล้องกับคาดการณ์ปริมาณฝนตกหนักในช่วงวันที่ 11 – 13 สิงหาคม 2565 nantnaphat12 ส.ค. 2022
สถานการณ์น้ำลุ่มเจ้าพระยา น้ำเหนือมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 11 ส.ค. 202211 ส.ค. 2022 สถานการณ์น้ำลุ่มเจ้าพระยา น้ำเหนือมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น nantnaphat11 ส.ค. 2022
ชลประทานทุ่งสัมฤทธิ์ เร่งระบายน้ำช่วยเหลือพื้นที่น้ำท่วมเมืองพิมาย 8 ส.ค. 20228 ส.ค. 2022 กรมชลประทาน เร่งระบายน้ำท่วมขัง หลังมีฝนตกหนักในพื้นที่ตอนบนของอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ระดมเครื่องผลักดันน้ำ 28 เครื่อง เร่งระบายน้ำในแม่น้ำมูล ลดผลกระทบประชาชนให้มากที่สุด nantnaphat8 ส.ค. 2022
“ชลประทาน”เตรียมพร้อมบริหารจัดการน้ำรับมือน้ำหลาก 7 ส.ค. 20227 ส.ค. 2022 ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน ในฐานะโฆษกกรมชลประทาน เปิดเผยว่ากรมชลประทานเตรียมพร้อมรับมือฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณประเทศไทยและคลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 7 – 9 สิงหาคม 2565) ตามประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา ฉบับที่ 2 (185/2565) เรื่องฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณประเทศไทย และคลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 7 – 9 สิงหาคม 2565) ร่องมรสุมจะเลื่อนลงมาพาดผ่านบริเวณภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณประเทศเวียดนามตอนบน nantnaphat7 ส.ค. 2022