ศ.ดร.นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสห […]
opabo
29 ก.ย. 2024
“ลูกเดือย ” พืชธัญพืชที่มีขนาดใหญ่กว่าข้าวโ […]
opabo
28 ก.ค. 2024
กรมชลประทานเร่งขุดลอกอ่างฯ ห้วยแก้ว เพิ่มปริมาณน้ำเก็บกัก
opabo
30 มิ.ย. 2024
ใครจะรู้ว่านอกจากสัตว์เศรษฐกิจที่เราคุ้นชินกันแล้วยังมีการเพาะพันธุ์สัตว์เลี้ยงอีกชนิดหนึ่งที่สามารถสร้างรายได้ให้ผู้เพาะเลี้ยงได้หลายบาทเลยทีเดียว สัตว์ที่ว่านั้นก็คือ เจ้ากระต่ายที่มีขนปุกปุย นั่นเอง เพราะกระต่ายสายพันธุ์ต่างๆ ที่นิยมเลี้ยงกันในไทยเป็นที่ต้องการของตลาดเป็นอย่างมาก โดยในท้องตลาดมักจะซื้อกระต่ายเพื่อนำไปเลี้ยงเป็นสัตว์สวยงาม และยังรับซื้อไว้เป็นพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ในการเพาะเลี้ยงพันธุ์กระต่ายอีกด้วย ที่สำคัญยังมีการรับซื้อกระต่ายเพื่อนำไปแปรรูปเป็นเนื้อไว้บริโภครับประทานกันด้วย
opabo
11 มิ.ย. 2024
“ลูกแพร์” ผลไม้ที่นิยมบริโภคกันทั่วโลก ต้นแพร์ เป็นไม้ให้ผลประเภทยืนต้นขนาดไม่ใหญ่ แตกกิ่งก้านสาขาออกเป็นทรงพุ่มขนาดพอดี
opabo
28 พ.ค. 2024
ลำไยพันธฺุ์อิดอ หรืออีดอ เป็นลำไยชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมในการบริโภค โดยทั่วไปจะเริ่มติดดอกในช่วงปลายปีหรือราวเดือนธันวาคม และจะเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตจำหน่ายได้ตั้งแต่ช่วงปลายเดือนมิถุนายน จึงกลายเป็นข้อได้เปรียบสำหรับเกษตรกรที่ปลูกลำไยพันธุ์นี้เพราะพันธุ์อื่นๆ ยังไม่มีผลผลิตออกสู่ตลาด ทำให้ราคาลำไยในท้องตลาดสามารถขายได้ราคาสูง
opabo
3 เม.ย. 2024
ชป.ขานรับข้อสั่งการนายกฯ คุมเข้มการใช้น้ำให้พอใช้อุปโภคบริโภคตลอดแล้งนี้ และรักษาระบบนิเวศ ไปจนถึงต้นฤดูฝนหน้า
opabo
4 มี.ค. 2024
รมว.ธรรมนัส ลงพื้นที่ จ.เพชรบูรณ์ ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำห้วยขอนแก่น และโครงการอ่างเก็บน้ำคลองลำกงฯ หวังเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บกักน้ำไว้ใช้สำหรับการเกษตร และอุปโภค-บริโภค ให้เป็นไปอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพในช่วงฤดูแล้ง
opabo
6 ม.ค. 2024
รมว.ธรรมนัส เร่งพัฒนาแหล่งน้ำต้นทุนในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต เพื่อการอุปโภค-บริโภค และรองรับนักท่องเที่ยว รวมถึงกิจกรรมอื่น ๆ ในอนาคต
opabo
20 ต.ค. 2023
กรมชลประทานติดตามสถานการณ์น้ำ สั่งกักเก็บน้ำสำรองไว้ให้มากที่สุด
opabo
24 ก.ย. 2023
เป็นช่วง “โค้งสุดท้าย” ที่จะได้บริโภคมังคุดแล้ว ดังนั้นไม่ต้องคิดมาก ซื้อแค่คนละ 1 กิโล 2 กิโลรวม ๆ กันก็จะเป็นการ “บริโภคก้อนใหญ่” สร้างแรง “กระเพื่อม” ได้มาก เป็นการช่วยเกษตรกรด้านราคา
opabo
22 ส.ค. 2023
ตั้งแต่เดือนมกราคม 2565 – เมษายน 2566 ผลไม้จากอาเซียนที่นำเข้าผ่านด่านโหย่วอี้กวานเขตปกครองตนเองกว่างซี มีปริมาณรวม 5.38 แสนตัน คิดเป็นมูลค่า 11,580 ล้านหยวน ทั้งนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่า… ส่วนหนึ่งของผลไม้ที่ชาวจีนนิยมบริโภคเป็นผลไม้ที่นำเข้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะผลไม้เมืองร้อนจากชาติสมาชิกอาเซียน โดยชนชั้นกลางที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในสังคมถือเป็นเสาหลักในการขับเคลื่อนการบริโภคผลไม้นำเข้า ซึ่งได้สร้างโอกาสในการค้าผลไม้ รวมถึงประเทศไทยด้วย
opabo
20 มิ.ย. 2023