ความคืบหน้าการระบายน้ำท่วมขังทุ่งป่าโมกและทุ่งผักไห่ จั […]
opabo
15 ส.ค. 2024
กรมชลประทาน ลุยติดตั้งเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องสูบน้ำ เร่งระบายน้ำท่วมขังในพื้นที่ต่างๆ ส่งผลให้สถานการณ์น้ำเริ่มคลี่คลายเข้าสู่ภาวะปกติแล้วในหลายพื้นที่ ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนให้กับพี่น้องประชาชน
opabo
25 ต.ค. 2023
กรมชลประทาน ระดมติดตั้งเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องสูบน้ำอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ เพื่อเร่งระบายน้ำท่วมขัง จนกว่าสถานการณ์จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ยันไม่คิดหยุดระดมสรรพกำลังช่วยประชาชน
opabo
13 ต.ค. 2023
กรมชลประทาน จัดเต็มติดตั้งเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องสูบน้ำ เร่งระบายน้ำท่วมขังในหลายพื้นที่ จนกว่าสถานการณ์จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
opabo
11 ต.ค. 2023
กรมชลประทาน เกาะติดสถานการณ์ฝนตกหนักในพื้นที่ภาคใต้อย่างต่อเนื่อง เร่งช่วยเหลือระบายน้ำท่วมขังในหลายพื้นที่ ย้ำโครงการชลประทานเฝ้าระวังตลอด 24 ชั่วโมง
nantnaphat
18 ธ.ค. 2022
ปภ.แจ้ง 12 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส พังงา ภูเก็ต ตรัง และสตูล เฝ้าระวังน้ำไหลหลาก น้ำท่วมขัง และระดับน้ำในแม่น้ำเพิ่มสูงขึ้นทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำล้นตลิ่ง ในช่วงวันที่ 8 – 11 ธ.ค. 65
opabo
5 ธ.ค. 2022
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ. ) รายงานข้อมูลคาดการณ์และแจ้งเตือนภัย ณ วันที่ 24 ตุลาคม 2565 เวลา 18.00 น. น้ำล้นตลิ่ง-น้ำท่วมขัง หลายจังหวัดในภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลางและภาคใต้ ด้านกรมอุตุนิยม เตือน ระวังฝนตกสะสม
opabo
24 ต.ค. 2022
จากสถานการณ์ฝนตกหนักสะสมอย่างต่อเนื่อง จนเกิดน้ำท่วมในหลายพื้นที่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย รัฐมนตรีเฉลิมชัย สั่งการหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เร่งให้ความช่วยเหลือและเยียวยาเกษตรกรและประชาชนที่ได้รับผลกระทบให้โดยเร็วที่สุด
nantnaphat
22 ต.ค. 2022
พื้นที่ลุ่มน้ำ ชี-มูล ยังท่วมขังกว่า 2 แสนไร่ นาข้าวได้รับผลกระทบแล้วทั้งสิ้น 131,227 ไร่
opabo
10 ก.ย. 2022
GISTDA ใช้ดาวเทียมติดตามสถานการณ์น้ำท่วม ล่าสุดพบพื้นที่น้ำท่วมขังแล้วจำนวน 1,655,983 ไร่ ในหลายพื้นที่ของลุ่มน้ำสำคัญที่กระจายอยู่เกือบทุกภูมิภาคของประเทศ ในขณะที่พื้นที่นาข้าวได้รับผลกระทบแล้วทั้งสิ้น 711,235 ไร่
opabo
8 ก.ย. 2022
ผงะะ GISTDA ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่บางส่วนของลุ่มน้ำเจ้าพระยา ลุ่มน้ำป่าสัก ลุ่มน้ำบางปะกง และลุ่มน้ำมูล ด้วยดาวเทียม Radarsat-2 (เรดาร์แซท-2) เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2565 พบพื้นที่น้ำท่วมขังแล้วทั้งสิ้น 749,396 ไร่ โดยเฉพาะในเขตพื้นที่บางส่วนของจังหวัด สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ ชัยนาท สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครนายก ปราจีนบุรี และ นครราชสีมา ในขณะที่พื้นที่ปลูกข้าวโดยรวมได้รับผลกระทบแล้ว 260,558 ไร่
opabo
1 ก.ย. 2022
GISTDA เปิดเผยข้อมูลภาพจากแผนที่แสดงสถานการณ์น้ำท่วมช่วงเดือนสิงหาคม 2554 ซึ่งขณะนั้นประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วมขัง 5.59 ล้านไร่ และเมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์น้ำท่วมในเดือนสิงหาคมปีนี้ (2565) พบว่าประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วมขังแล้ว 1.85 ล้านไร่ หรือต่างกันราวๆ 3 เท่าตัว
nantnaphat
1 ก.ย. 2022