สถานการณ์น้ำตอนบนยังมีปริมาณมาก ล่าสุดเขื่อนเจ้าพระยาปรับการระบายน้ำผ่านเขื่อนในอัตรา 3,113 ลบ.ม./วินาที 10 ต.ค. 202210 ต.ค. 2022 สทนช.ได้เน้นย้ำกรมชลประทาน พิจารณาเพิ่ม-ลดการระบายน้ำผ่านเขื่อนต่างๆ ตามสถานการณ์ เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนทั้งด้านเหนือเขื่อนและท้ายเขื่อนเจ้าพระยาให้น้อยที่สุด ล่าสุดปรับระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยาในอัตรา 3,113 ลบ.ม./วินาที nantnaphat10 ต.ค. 2022
ชลประทานจัดจราจรน้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตอนล่างผ่าน“คลองระพีพัฒน์”สู่แม่น้ำนครนายก-บางปะกง ลงอ่าวไทย 9 ต.ค. 20229 ต.ค. 2022 ศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ (SWOC)รายงานว่า ปัจจุบันเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ มีปริมาณน้ำเต็มความจุจำเป็นต้องระบายน้ำเพื่อรักษาเสถียรภาพและความมั่นคงของเขื่อน ในอัตราประมาณ 901 ลบ.ม./วินาทีซึ่งปริมาณน้ำนี้จะไหลลงไปรวมกับน้ำที่มาจากคลองชัยนาท – ป่าสัก ก่อนจะไหลผ่านเขื่อนพระรามหก nantnaphat9 ต.ค. 2022
ชลประทานเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำทุ่งเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก 9 ต.ค. 20229 ต.ค. 2022 กรมชลประทาน เสริมศักยภาพในการระบายน้ำฝั่งตะวันตกของลุ่มน้ำเจ้าพระยา จับมือประชาชนในพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบคันกั้นน้ำและเสริมคันคลองให้สูงขึ้น ป้องกันน้ำท่วม nantnaphat9 ต.ค. 2022
ชลประทานใช้ประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำริ เร่งระบายน้ำเจ้าพระยา ช่วงน้ำทะเลลง 6 ต.ค. 2022 กรมชลประทาน น้อมนำแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาใช้ในการบริหารจัดการน้ำ ตามนโยบายของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ nantnaphat6 ต.ค. 2022
ชลประทานเร่งช่วยพื้นที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา รับน้ำเข้าทุ่งลุ่มต่ำ 6 ต.ค. 20226 ต.ค. 2022 ปริมาณน้ำเหนือไหลลงสู่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาเพิ่มขึ้นจนถึง&nb […] nantnaphat6 ต.ค. 2022
ชลประทานเตรียมชะลอน้ำเหนือเขื่อนเจ้าพระยา ลดผลกระทบพื้นที่ตอนล่าง 5 ต.ค. 20225 ต.ค. 2022 กรมชลประทานเตรียมชะลอปริมาณน้ำที่ไหลหลากมาจากตอนบน โดยใช้พื้นที่ว่างบริเวณเหนือเขื่อนเจ้าพระยา ส่งผลให้ 3 จังหวัด เหนือเขื่อนระดับน้ำจ่อสูงขึ้น nantnaphat5 ต.ค. 2022
กรมชลประทานแจงแผนบริหารจัดการน้ำ อ.บางบาล ลดความเดือดร้อน จ.พระนครศรีอยุธยา 5 ต.ค. 20225 ต.ค. 2022 กรมชลประทานชี้แจงกรณีราษฎรในเขตตำบลบางหลวงโดด และ ตำบลบางหลวง อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประท้วงโดยทำการปิดถนนเส้น ผักไห่-บางบาล บริเวณคันกั้นน้ำชลประทานริมคลองโผงเผง เพื่อกดดันให้กรมชลประทานเปิดประตูระบายน้ำริมคลองโผงเผง เข้าทุ่งป่าโมกเพิ่มเติม เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎร นอกคันกั้นน้ำริมคลองโผงเผง นั้น nantnaphat5 ต.ค. 2022
สภาพอากาศวันนี้ยังคงมีฝนตกหนักในหลายพื้นที่ ขณะที่ กอนช.เตือนประชาชนลุ่มน้ำป่าสักและเจ้าพระยา เตรียมตัวรับน้ำหลากจากภาคเหนือที่ยังมีฝนตกหนัก 1 ต.ค. 20221 ต.ค. 2022 ประกาศ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ฉบับที่ 45/2565 เรื่อง เฝ้าระวังระดับน้ำบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา เนื่องจากอิทธิพลของพายุโซนร้อน “โนรู” ในช่วงวันที่ 28 – 30 กันยายน 2565 ทำให้เกิดฝนตกหนักบริเวณภาคเหนือ และภาคกลาง ส่งผลให้มีน้ำท่าหลากลงสู่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาและลุ่มน้ำป่าสัก ปริมาณมากขึ้น กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ คาดการณ์ว่าจะมีปริมาณน้ำไหลผ่านบริเวณจังหวัดนครสวรรค์ (C.2) อยู่ในเกณฑ์ 2,600 – 2,700 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แล้วไหลมารวมกับแม่น้ำสะแกกรังและลำน้ำสาขาไหลเข้าเขื่อนเจ้าพระยา nantnaphat1 ต.ค. 2022
ชลประทานแจงอ่างเก็บน้ำเมืองโคราช 8 แห่ง ยังรับน้ำได้เต็มศักยภาพ ไม่ส่งผลกระทบพื้นที่ด้านท้าย 30 ก.ย. 2022 กรมชลประทานโดยสำนักงานชลประทานที่ 8 ได้ชี้แจงกรณีที่มีการเผยแพร่ข้อความแจ้งเตือนบนสื่อสังคมออนไลน์(Facebook) ว่า “โคราชล้นแล้ว 8 อ่างฯ พื้นที่ริมตลิ่งระวังน้ำท่วมฉับพลัน”นั้น nantnaphat30 ก.ย. 2022
ชลประทานยืนยันอ่างเก็บน้ำในพื้นที่ภาคอีสานใต้ยังมั่นคงแข็งแรงดี 27 ก.ย. 202227 ก.ย. 2022 กรมชลประทาน ชี้แจงกรณีที่มีการแชร์ข้อความบนโลกออนไลน์(Facebook)ว่า “หายนะมาเยือนภาคอีสานใต้แล้ว อ่างเก็บน้ำล้นทุกอ่างแล้ว ณ เวลานี้ จะระบายท้ายอ่างก็อ่วม แต่ถ้าไม่ระบายอ่าง ก็จะได้รับความเสียหายจากปริมาตรน้ำที่จะเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว” นั้น nantnaphat27 ก.ย. 2022
ชลประทานสั่งเตรียมพร้อมรับมือพายุโซนร้อน“โนรุ (NORU)” 25 ก.ย. 2022 ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน ในฐานะโฆษกกรมชลประทาน เปิดเผยสถานการณ์ลุ่มน้ำเจ้าพระยาปัจจุบัน(25กันยายน 2565)เมื่อเวลา 06.00 น. ตรวจวัดปริมาณน้ำไหลผ่านสถานีวัดน้ำ C.2 จ.นครสวรรค์ มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,968 ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) ต่อวินาที มีแนวโน้มลดลง สมทบกับแม่น้ำสะแกกรัง ผ่านสถานีวัดน้ำ Ct.19 จ.อุทัยธานี วัดได้ 130 ลบ.ม./วินาที นั้น nantnaphat25 ก.ย. 2022
ชลประทานเดินหน้าติดตั้งเครื่องสูบน้ำเพิ่ม เติมศักยภาพการระบายน้ำฝั่งตะวันออกของ กทม. 20 ก.ย. 202220 ก.ย. 2022 กรมชลประทาน เดินหน้าติดตั้งเครื่องสูบน้ำและกำจัดสิ่งกีดขวางทางน้ำในคลองต่างๆ เพิ่มเติม หวังเพิ่มศักยภาพในการระบายน้ำออกจากพื้นที่ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานครให้เร็วยิ่งขึ้น บรรเทาความเดือนร้อนให้กับประชาชนให้มากที่สุด ตามนโยบายของ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ในฐานะผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ(กอนช.) nantnaphat20 ก.ย. 2022