กรมชลฯ แจง โซเชียลลือ เขื่อนขุนด่านปราการชล น้ำในเขื่อน 98.95% ส่งผลให้น้ำท้ายเขื่อนมีระดับสูงขึ้น ยันเขื่อนมีความมั่นคงแข็งแรงดี 4 ต.ค. 20224 ต.ค. 2022 กรมชลประทานชี้แจงกรณีที่มีการเผยแพร่ข้อความผ่านสื่อสังคมออนไลน์ว่า “เขื่อนขุนด่านปราการชล มีปริมาณน้ำในเขื่อน 98.95% ส่งผลให้น้ำท้ายเขื่อนมีระดับสูงขึ้น” ยัน เขื่อนยังมีความมั่นคงแข็งแรงดี และควบคุมปริมาณน้ำให้อยู่ในเกณฑ์ควบคุม opabo4 ต.ค. 2022
กรมชลฯ สั่งพื้นที่จับตาระดับน้ำแม่น้ำชี-มูล ตลอด 24 ชั่วโมง 4 ต.ค. 20224 ต.ค. 2022 กรมชลฯ จับตาระดับน้ำแม่น้ำชี-มูล สั่งโครงการชลประทานในพ […] papimon4 ต.ค. 2022
กรมชลฯ เร่งระบายน้ำท่วมขังพื้นที่ต่าง ๆ ต่อเนื่อง หวังบรรเทาผลกระทบให้ได้มากที่สุด 3 ต.ค. 20223 ต.ค. 2022 ฝนที่ตกชุกกระจายทั่วประเทศส่งผลให้มีปริมาณน้ำสะสมไหลเข้าท่วมพื้นที่ริมตลิ่งพื้นที่ชุมชนหลายจังหวัด กรมชลประทาน เดินหน้าเร่งสูบระบายน้ำอย่างต่อเนื่อง บรรเทาผลกระทบที่เกิดกับประชาชนให้ได้มากที่สุด opabo3 ต.ค. 2022
กอนช.ประกาศเฝ้าระวังสถานการณ์ระดับน้ำแม่น้ำยม ขณะที่วันนี้ประเทศไทยยังคงมีฝนตกต่อเนื่อง และมีฝนตกหนักบางแห่งในทั่วทุกภาค 3 ต.ค. 20223 ต.ค. 2022 ประเทศไทยยังคงมีฝนตกต่อเนื่อง และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคกลาง รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันออก ปริมาณฝน 24 ชั่วโมง สูงสุดที่ จ.บุรีรัมย์ (134) จ.กาญจนบุรี (117) และ จ.อุตรดิตถ์ (114) ปริมาณน้ำแหล่งน้ำทุกขนาด 62,129 ล้าน ลบ.ม. (75%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 54,309 ล้าน ลบ.ม. (75%) เฝ้าระวังน้ำต่ำกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง บริเวณภาคเหนือ เฝ้าระวังน้ำสูงกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ จำนวน 19 แห่ง ได้แก่ แม่งัด แม่มอก ทับเสลา กระเสียว ห้วยหลวงจุฬาภรณ์ อุบลรัตน์ ลำตะคอง ลำพระเพลิง มูลบน ลำแชะ ลำนางรอง สิรินทร ขุนด่านฯ คลองสียัด บางพระ หนองปลาไหล นฤบดินทรจินดา และบึงบระเพ็ด nantnaphat3 ต.ค. 2022
อธิบดีกรมชลฯกำชับใช้ระบบชลประทานฝั่งตะวันตก เร่งระบายน้ำเหนือ 2 ต.ค. 20222 ต.ค. 2022 อธิบดีกรมชลฯ นายประพิศ จันทร์มา กำชับใช้ระบบชลประทานฝั่งตะวันตก เร่งระบายน้ำเหนือ ลดผลกระทบประชาชนให้มากที่สุด opabo2 ต.ค. 2022
เตือน!ฝนตกหนักทางตอนบน ส่งผลน้ำท่าเจ้าพระยาเพิ่มขึ้นอีก 2 ต.ค. 20222 ต.ค. 2022 กรมชลประทาน โดยศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ (SWOC) รายงานสถานการณ์ลุ่มน้ำเจ้าพระยาปัจจุบัน (2 ตุลาคม 2565) เมื่อเวลา 12.00 น. ตรวจวัดปริมาณน้ำไหลผ่านสถานีวัดน้ำ C.2 จ.นครสวรรค์ มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 2,713 ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) ต่อวินาทีระดับน้ำยังต่ำกว่าตลิ่ง 1.11 เมตร nantnaphat2 ต.ค. 2022
ชลประทานแจงอ่างเก็บน้ำเมืองโคราช 8 แห่ง ยังรับน้ำได้เต็มศักยภาพ ไม่ส่งผลกระทบพื้นที่ด้านท้าย 30 ก.ย. 2022 กรมชลประทานโดยสำนักงานชลประทานที่ 8 ได้ชี้แจงกรณีที่มีการเผยแพร่ข้อความแจ้งเตือนบนสื่อสังคมออนไลน์(Facebook) ว่า “โคราชล้นแล้ว 8 อ่างฯ พื้นที่ริมตลิ่งระวังน้ำท่วมฉับพลัน”นั้น nantnaphat30 ก.ย. 2022
ชลประทานเร่งระบายน้ำสายหลักอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยาในอัตรา 2,500 ลบ.ม./วินาที 30 ก.ย. 202230 ก.ย. 2022 30 ก.ย.65 ที่ศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ(SWOC) นายประพิศ จันทร์มา อธิบดีกรมชลประทาน พร้อมด้วยดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน ดร.ธเนศร์ สมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา และผู้เกี่ยวข้อง ร่วมประชุมติดตามสถานการณ์น้ำในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากอิทธิพลของพายุโนรู ที่ส่งผลให้ประเทศไทยมีฝนตกชุกแผ่กระจายเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ nantnaphat30 ก.ย. 2022
อั้นไม่อยู่! กรมชลประทานชี้แจงน้ำเหนือมาก ต้องเร่งระบายผ่านท้ายเขื่อนเจ้าพระยา 29 ก.ย. 202229 ก.ย. 2022 กรมชลประทาน ชี้แจงกรณีการระบายน้ำเพิ่มเขื่อนเจ้าพระยา สาเหตุจากน้ำเหนือเพิ่มขึ้น และรองรับผลกระทบจากอิทธิพลพายุ “โนรู” ทำให้ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง nantnaphat29 ก.ย. 2022
กรมชลประทานย้ำทุกเขื่อนแข็งแรง ยังสามารถเก็บกักน้ำได้อย่างเต็มศักยภาพ แม้บางแห่งจะมีปริมาณน้ำเต็มอ่างฯ 29 ก.ย. 202229 ก.ย. 2022 กรมชลประทาน ยืนยันเขื่อนขนาดใหญ่และขนาดกลางทุกแห่ง ที่ดูแลอยู่ มีความมั่นคงแข็งแรงดี สามารถใช้ในการบริหารจัดการน้ำได้อย่างเต็มศักยภาพ แม้บางแห่งจะมีปริมาณน้ำเต็มอ่างฯ ย้ำมีการตรวจสอบติดตามพฤติกรรมเขื่อนตลอดทั้งปี เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน nantnaphat29 ก.ย. 2022
กรมชลประทานรับมือพายุ”โนรู”สั่งระดมเครื่องสูบน้ำ-ผลักดันน้ำมูลลงโขงให้เร็วที่สุด 28 ก.ย. 202229 ก.ย. 2022 กรมอุตุนิยมวิทยาเผย พายุ”โนรู”เคลื่อนปกคลุมอีสานตอนล่างคืนนี้ (28 ก.ย.65)ส่งผลให้จังหวัดอุบลราชธานี รับมือฝนตกหนัก อธิบดีกรมชลประทานสั่งระดมเครื่องสูบน้ำ-ผลักดันน้ำ ติดตั้งเพิ่มเร่งระบายน้ำในแม่น้ำมูลลงสู่แม่น้ำโขงให้เร็วที่สุด ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนประชาชน nantnaphat28 ก.ย. 2022
กรมชลฯจัดจราจรน้ำในแม่น้ำชี-มูล เร่งระบายน้ำลงแม่น้ำโขงให้เร็วที่สุด 27 ก.ย. 202227 ก.ย. 2022 กรมชลประทานเดินหน้าจัดจราจรน้ำในแม่น้ำชี-มูล เร่งระบายน้ำจากพื้นที่ตอนบนลงสู่แม่น้ำโขง เน้นใช้แนวทางการระบายน้ำจากปี 2562 ที่น้ำระบายได้เร็ว ลดผลกระทบต่อประชาชนให้มากที่สุด พร้อมระดมเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องสูบน้ำ และเครื่องผลักดันน้ำ เร่งระบายน้ำรับมือพายุ “โนรู” จนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ปกติ nantnaphat27 ก.ย. 2022