นายอรรถกร ศิริลัทธยากร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยในโอกาสเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ครั้งที่ 1/2567 ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (134 – 135) ว่า เนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 6 รอบ หรือ 72 พรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2567 นับเป็นมหามงคลสมัยพิเศษยิ่ง รัฐบาลจึงดำเนินงานการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 โดยกำหนดระยะเวลาขอบเขตการจัดงานเฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2567 เพื่อเป็นการร่วมแสดงความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รวมทั้งร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ประชุมจึงมีมติเห็นชอบจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ระดับประเทศ และกำหนดจัดงานใน 6 จังหวัด โดยจุดหลัก ณ ศูนย์บริการและพัฒนาลุ่มน้ำปาย ตามพระราชดำริ จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ท่าโป่งแดง) ตำบลผาบ่อง อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจุดรอง จำนวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดชัยนาท จังหวัดราชบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดสงขลา โดยกำหนดจัดงานในช่วงเวลาเดียวกัน (1 – 31 กรกฎาคม 2567) สำหรับภายในงาน ประกอบด้วย กิจกรรมลงนามถวายพระพร พิธีถวายพระพรชัยมงคล การจัดแสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กิจกรรมการให้บริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ โดยวิเคกระทรวงเกษตรฯ ขับเคลื่อนโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 พร้อมเผยผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา มีเกษตรกรเข้าร่วมกว่า 1.8 แสนราย
นายอรรถกร ศิริลัทธยากร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยในโอกาสเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ครั้งที่ 1/2567 ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (134 – 135) ว่า เนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 6 รอบ หรือ 72 พรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2567 นับเป็นมหามงคลสมัยพิเศษยิ่ง รัฐบาลจึงดำเนินงานการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 โดยกำหนดระยะเวลาขอบเขตการจัดงานเฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2567 เพื่อเป็นการร่วมแสดงความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รวมทั้งร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ประชุมจึงมีมติเห็นชอบจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ระดับประเทศ และกำหนดจัดงานใน 6 จังหวัด โดยจุดหลัก ณ ศูนย์บริการและพัฒนาลุ่มน้ำปาย ตามพระราชดำริ จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ท่าโป่งแดง) ตำบลผาบ่อง อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจุดรอง จำนวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดชัยนาท จังหวัดราชบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดสงขลา โดยกำหนดจัดงานในช่วงเวลาเดียวกัน (1 – 31 กรกฎาคม 2567) สำหรับภายในงาน ประกอบด้วย กิจกรรมลงนามถวายพระพร พิธีถวายพระพรชัยมงคล การจัดแสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กิจกรรมการให้บริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ โดยวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานเชิงพื้นที่ และกำหนดแนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหาให้มีความเหมาะสม โดยหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน อื่นๆ ในพื้นที่ร่วมออกบูธให้บริการ พร้อมกันนี้ ได้มอบหมายให้ทุกหน่วยงานเตรียมความพร้อมในการร่วมดำเนินงานโครงการฯ ตามแนวทาง ที่กำหนด และแจ้งหน่วยงานในพื้นที่เข้าร่วมดำเนินงานอย่างเต็มศักยภาพ ให้เหมาะสม และสมพระเกียรติ และมอบหมายคณะกรรมการโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ระดับจังหวัด ดำเนินการขับเคลื่อนงานต่อไป
นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้เผยผลการดำเนินงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 พบว่า มีเกษตรกรลงทะเบียนเพื่อขอรับบริการ (คลินิก 01) จำนวน 73,870 ราย จากเป้าหมาย จำนวน 30,800 ราย และมีการเข้ารับบริการในคลินิกต่าง ๆ (คลินิก 02) จำนวน 185,145 ราย (เกษตรกร 1 ราย สามารถเข้ารับบริการ ได้มากกว่า 1 คลินิก) โดยให้บริการเสร็จสิ้นในวันเปิดให้บริการ จำนวน 183,273 ราย หรือ ร้อยละ 98.99 และมีเกษตรกรที่ติดตามให้บริการต่อเนื่อง จำนวน 1,872 ราย ทั้งนี้ มีเกษตรกรให้ความสนใจในการเข้ารับบริการคลินิกส่งเสริมการเกษตร จำนวน 29,447 ราย รองลงมาคลินิกสหกรณ์ จำนวน 25,196 ราย คลินิกดิน จำนวน 22,770 ราย คลินิกพืช จำนวน 21,748 ราย คลินิกปศุสัตว์ จำนวน 17,440 ราย คลินิกข้าว จำนวน 15,834 ราย คลินิกประมง จำนวน 12,705 ราย คลินิกหม่อนไหม จำนวน 12,257 ราย คลินิกบัญชี จำนวน 11,301 ราย คลินิกกฎหมาย (ส.ป.ก.) จำนวน 8,702 ราย คลินิกอื่น ๆ จำนวน 5,427 ราย และคลินิกชลประทาน จำนวน 2,318 ราย ตามลำดับ ทั้งนี้ พบว่า เกษตรกรมีความพึงพอใจ เนื่องจากได้รับประโยชน์จากการเข้ารับบริการคลินิกเกษตร ได้ความรู้ คำแนะนำ เช่น โรคและแมลงศัตรูพืช การปรับปรุงดิน การดูแลพืช ตลอดจนได้รับปัจจัยการผลิต เช่น พันธุ์พืชผักสวนครัว สารชีวภัณฑ์ เวชภัณฑ์ น้ำหมัก และยังสามารถนำความรู้/คำแนะนำไปใช้ประโยชน์ เช่น เรื่องโรคและแมลงศัตรูพืช การปรับปรุงบำรุงดิน การเลี้ยงสัตว์/สัตว์น้ำ การบริหารจัดการน้ำ กฎหมายที่ดิน ส.ป.ก. เป็นต้น
สำหรับความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไตรมาส 1 – ถึงปัจจุบัน (1 ตุลาคม 2566 – 22 พฤษภาคม 2567) พบว่า มีเกษตรกรลงทะเบียนเพื่อขอรับบริการ (คลินิก 01) จำนวน 38,675 ราย จากเป้าหมาย 30,800 ราย และเข้ารับบริการในคลินิกต่างๆ (คลินิก 02) จำนวน 83,819 รายราะห์ปัญหาการดำเนินงานเชิงพื้นที่ และกำหนดแนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหาให้มีความเหมาะสม โดยหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน อื่นๆ ในพื้นที่ร่วมออกบูธให้บริการ พร้อมกันนี้ ได้มอบหมายให้ทุกหน่วยงานเตรียมความพร้อมในการร่วมดำเนินงานโครงการฯ ตามแนวทาง ที่กำหนด และแจ้งหน่วยงานในพื้นที่เข้าร่วมดำเนินงานอย่างเต็มศักยภาพ ให้เหมาะสม และสมพระเกียรติ และมอบหมายคณะกรรมการโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ระดับจังหวัด ดำเนินการขับเคลื่อนงานต่อไป
นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้เผยผลการดำเนินงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 พบว่า มีเกษตรกรลงทะเบียนเพื่อขอรับบริการ (คลินิก 01) จำนวน 73,870 ราย จากเป้าหมาย จำนวน 30,800 ราย และมีการเข้ารับบริการในคลินิกต่าง ๆ (คลินิก 02) จำนวน 185,145 ราย (เกษตรกร 1 ราย สามารถเข้ารับบริการ ได้มากกว่า 1 คลินิก) โดยให้บริการเสร็จสิ้นในวันเปิดให้บริการ จำนวน 183,273 ราย หรือ ร้อยละ 98.99 และมีเกษตรกรที่ติดตามให้บริการต่อเนื่อง จำนวน 1,872 ราย ทั้งนี้ มีเกษตรกรให้ความสนใจในการเข้ารับบริการคลินิกส่งเสริมการเกษตร จำนวน 29,447 ราย รองลงมาคลินิกสหกรณ์ จำนวน 25,196 ราย คลินิกดิน จำนวน 22,770 ราย คลินิกพืช จำนวน 21,748 ราย คลินิกปศุสัตว์ จำนวน 17,440 ราย คลินิกข้าว จำนวน 15,834 ราย คลินิกประมง จำนวน 12,705 ราย คลินิกหม่อนไหม จำนวน 12,257 ราย คลินิกบัญชี จำนวน 11,301 ราย คลินิกกฎหมาย (ส.ป.ก.) จำนวน 8,702 ราย คลินิกอื่น ๆ จำนวน 5,427 ราย และคลินิกชลประทาน จำนวน 2,318 ราย ตามลำดับ ทั้งนี้ พบว่า เกษตรกรมีความพึงพอใจ เนื่องจากได้รับประโยชน์จากการเข้ารับบริการคลินิกเกษตร ได้ความรู้ คำแนะนำ เช่น โรคและแมลงศัตรูพืช การปรับปรุงดิน การดูแลพืช ตลอดจนได้รับปัจจัยการผลิต เช่น พันธุ์พืชผักสวนครัว สารชีวภัณฑ์ เวชภัณฑ์ น้ำหมัก และยังสามารถนำความรู้/คำแนะนำไปใช้ประโยชน์ เช่น เรื่องโรคและแมลงศัตรูพืช การปรับปรุงบำรุงดิน การเลี้ยงสัตว์/สัตว์น้ำ การบริหารจัดการน้ำ กฎหมายที่ดิน ส.ป.ก. เป็นต้น
สำหรับความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไตรมาส 1 – ถึงปัจจุบัน (1 ตุลาคม 2566 – 22 พฤษภาคม 2567) พบว่า มีเกษตรกรลงทะเบียนเพื่อขอรับบริการ (คลินิก 01) จำนวน 38,675 ราย จากเป้าหมาย 30,800 ราย และเข้ารับบริการในคลินิกต่างๆ (คลินิก 02) จำนวน 83,819 ราย