สศก.เปิดผลศึกษา การบริหารจัดการชีวมวลอ้อยที่เหมาะสมจากใบและยอดอ้อย พร้อมชวนเกษตรกรตัดอ้อยสด ลดการเผา เพื่อลดปัญหาฝุ่น PM 2.5

นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน) ได้มอบหมายให้ทุกหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมขับเคลื่อนแก้ปัญหามลพิษฝุ่นละออง ทั้งการรณรงค์และควบคุมการเผาในพื้นที่เกษตร ปฏิบัติการฝนหลวงสร้างความชุ่มชื้นพื้นที่สำหรับป้องกันไฟป่าและบรรเทาปัญหาหมอกควัน ส่งเสริมโครงการส่งเสริมการไถกลบและผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตลอดจนสนับสนุนให้เกษตรกรนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพิ่มทดแทนการเผาทิ้ง

nantnaphat

24 ก.พ. 2023

ม.มหิดล ถ่ายทอดเทคโนโลยีพัฒนาข้าวระยะเขียว สู่ผลิตภัณฑ์เพื่อคนแพ้นมและถั่วเหลือง

“ทุ่งกุลาร้องไห้” บนที่ราบสูง 2 ล้านไร่ในเขตพื้นที่ 5 จังหวัดทางภาคอีสาน ได้แก่ มหาสารคาม ร้อยเอ็ดสุรินทร์ ศรีสะเกษ และยโสธร จากที่เคยแห้งแล้งมีแต่ดินปนทราย 

nantnaphat

23 ก.พ. 2023

ม.มหิดล พลิกชนบทสู่ชุมชนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี IoT

โลกยุคดิทัลที่เชื่อมต่อด้วย IoT (Internet of Things) ทำให้ทุกสรรพสิ่งหมุนตามสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แม้แต่การเกษตรที่ต้องอาศัยปัจจัยของดิน น้ำ และแสงแดด ด้วยเทคโนโลยี IoT จะทำให้การทำเกษตรเป็นเรื่องง่าย พลิกชนบทสู่ชุมชนเกษตรอัจฉริยะ

nantnaphat

18 ก.พ. 2023

กรมวิชาการเกษตรแนะนำเทคนิคการดูแลลองกองให้ได้เกรดเอและราคาดี

กรมวิชาการเกษตรโดยสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 (สวพ.8) แนะนำให้ ต้องเริ่มปฏิบัติตั้งแต่การตัดแต่งช่อดอก หลังจากนั้นจึงทำการตัดแต่งช่อผลและปลิดผล ที่ไม่มีคุณภาพทิ้งไป เพราะปริมาณช่อดอก และช่อผลที่มากเกินไป จะมีผลกระทบต่อการพัฒนาของผล ทำให้ผลเจริญเติบโตช้า มีขนาดเล็กและมีผลร่วงในปริมาณมาก ดังนั้นในช่วงที่ลองกองกำลังมีการเพิ่มการเจริญเติบโตของผล เกษตรกรจึงควรปฏิบัติดังนี้

nantnaphat

17 ก.พ. 2023

(มีคลิป)เด็กจีนใช้ AI-ระบบดิจิทัล ปลูก ‘ผักกาด’ พันธุ์ใหม่ใน 90 วัน

นครเซี่ยงไฮ้ทางตะวันออกของจีนกำลังจัดการแข่งขันเกษตรอัจฉริยะ ครั้งที่ 3 รอบชิงชนะเลิศ โดยผู้แข่งขันได้รับโจทย์ให้ปลูกผักกาดพันธุ์ใหม่ที่มีชื่อว่า “กรุบกรอบ” (Crunchy) ภายใน 3 เดือน ซึ่งพวกเขาจะประยุกต์ใช้ความช่วยเหลือจากปัญญาประดิษฐ์หรือเอไอ (AI) และสารพัดเทคโนโลยีดิจิทัล

nantnaphat

16 ก.พ. 2023

นวัตกรรม”แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์” ลดเสี่ยงโคนมพิการ-บาดเจ็บ

ฟาร์มโคนมในประเทศไทยมากกว่าร้อยละ 95 นิยมเลี้ยงโคนมแบบ ‘ผูกยืนโรง’ โดยแม่โคแต่ละตัวจะถูกผูกให้ยืนอยู่ในซองภายในโรงเรือนเนื่องด้วยข้อจำกัดของพื้นที่ ขณะที่พื้นคอกส่วนใหญ่เป็นพื้นปูนซีเมนต์ แต่การเลี้ยงโคนมบนพื้นปูนมักก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพโคนม อย่างมาก ฟาร์มโคนมในประเทศไทยมากกว่าร้อยละ 95 นิยมเลี้ยงโคนมแบบ ‘ผูกยืนโรง’ โดยแม่โคแต่ละตัวจะถูกผูกให้ยืนอยู่ในซองภายในโรงเรือนเนื่องด้วยข้อจำกัดของพื้นที่ ขณะที่พื้นคอกส่วนใหญ่เป็นพื้นปูนซีเมนต์ เพื่อให้ง่ายต่อการดูแลทำความสะอาด หากแต่การเลี้ยงโคนมบนพื้นปูนมักก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพโคนม อย่างมาก เนื่องจากโคนมมีน้ำหนักตัวเฉลี่ยมากกว่า 500 กิโลกรัม แรงกดทับของน้ำหนักตัวต่อพื้นปูนทำให้เกิดการบาดเจ็บ อีกทั้งพื้นปูนเมื่อเวลาโดนน้ำยังลื่นง่าย เสี่ยงต่อการล้ม ทำให้โคนมพิการ และไม่สามารถผลิตน้ำนมได้อย่างมีคุณภาพ สร้างความเสียหายอย่างมากให้แก่เกษตรกร นวัตกรรม”แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์” ลดความเสี่ยงโคนมพิการ-บาดเจ็บได้

opabo

16 ก.พ. 2023

เทคโนโลยีเกษตรพลิกโลก พื้นที่น้อย เฉลิมชัย หนุนการทำฟาร์มเกษตรแนวตั้ง

จากการเปลี่ยนแปลงของโลก สร้างปัญหาให้กับธรรมชาติ ดินเสื่อมโทรม อากาศไม่เหมาะสม ที่ดินไม่เพียงพอ สำหรับใช้ประกอบเกษตรกรรม จึงมีแนวคิด “การทำเกษตรกรรมในเมือง” และ “การทำเกษตรกรรมแนวตั้ง” ที่สามารถควบคุมปัจจัยแวดล้อมได้ ใช้พื้นที่น้อยแต่ให้ผลผลิตในจำนวนมหาศาล …แล้ว เกษตรแนวตั้ง คืออะไร มาทำความรู้จักกัน

opabo

15 ก.พ. 2023

จากใบไผ่สู่สกินแคร์ภายใต้แบรนด์ SUCHADA ฝีมือคณะวิทย์ มธ. เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร

เจ๋ง คณะวิทย์ มธ. นำใบไผ่ซางหม่น มาสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาเป็นสกินแคร์ ภายใต้แบรนด์ SUCHADA (สุชาดา)

opabo

14 ก.พ. 2023

GISTDA นำร่องทดสอบใช้งานแอปพลิเคชัน “เช็คแล้ง” กับเกษตรกรและหน่วยงานในพื้นที่ เริ่มวานรนิวาส จ.สกลนคร เป็นที่แรก

GISTDA นำร่องทดสอบแอปพลิเคชันเช็คแล้ง กับเกษตรกรและหน่วยงานในพื้นที่ เริ่มวานรนิวาส จ.สกลนคร เป็นที่แรก แอปพลิเคชัน “เช็คแล้ง” จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจให้กับเกษตรกรสำหรับการวางแผนการเพาะปลูกได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะเป็นการช่วยลดผลกระทบและความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากภัยแล้งได้ .

opabo

13 ก.พ. 2023
1 14 15 16 37